28 ธันวาคม 2562

โปรแกรม​คำนวณ​กระเบื้อง​ปูพื้น


โปรแกรม​คำนวณ​จำนวน​กระเบื้อง​ปูพื้น​


ใส่ค่าความ กว้าง x ยาว
(ของห้อง หรือพื้นที่ที่ต้องการปูกระเบื้อง) 
กว้าง​ :  ม.
ยาว​ :  ม.
กระเบื้องขนาด  
เผื่อกระเบื้องแตกไว้   %
ระยะห่างของร่องยาแนว  ม.ม.
 ราคาตร.ม.(หรือกล่อง) ละ :  บาท
ราคาค่าแรงปู ตร.ม.ละ​ :  บาท
ราคาปูนยาแนว(ก.ก.) ถุงละ :  บาท
ราคาปูนกาวสำเร็จ​ถุงละ :  บาท



ได้พื้นที่ห้องขนาด :  ตร.ม.
ใช้กระเบื้องทั้งหมดจำนวน :  แผ่น
เหลือกระเบื้องที่ถูกตัดเศษ :  แผ่น
จำนวนแผ่น/​กล่อง : แผ่น
ใช้กระเบื้องจำนวน : กล่อง
....
เผื่อกระเบื้อง​ไว้ : กล่อง
รวมกระเบื้องที่ควรซื้อ : กล่อง
รวมราคากระเบื้อง : บาท
....
ใช้ปูนยาแนวจำนวน : ถุง
ควรซื้อปูนยาแนวจำนวน : ถุง
รวมราคาปูนยาแนว : บาท
....
(ปูนกาวซีเมนต์ 20 กิโลเมตร 1 ถุง
จะปูพื้นที่ได้ 5 – 6 ตารางเมตร)​
ใช้ปูนกาวจำนวน : ถุง
ควรซื้อปูนกาวจำนวน : ถุง
รวมราคาปูนกาว : บาท
....
รวมราคาค่าแรง : บาท
....
รวมราคาค่าของค่าแรง : บาท
~~~~~~


 ขนาดของ กระเบื้องปูพื้น มีหลายขนาด
 ไล่มาตั้งแต่
 8 x 8 นิ้ว,(20 ซ.ม. X 20 ซ. ม.)
 12 x 12 นิ้ว,(30 ซ.ม. X 30 ซ. ม.)
 16 x 16 นิ้ว,(40 ซ.ม. X 40 ซ. ม.)
 20 x 20 นิ้ว(60 ซ.ม. X 60 ซ. ม.)
 ส่วนขนาดของกระเบื้องบุผนังมี
 2.5 x 8 นิ้ว,
 8 x 8 นิ้ว,
 8 x 10 นิ้ว,
 8 x 12 นิ้ว

28 กันยายน 2562

โปรแกรมหาฝาผนัง​แผ่นสำเร็จ​


โปรแกรมหาฝาผนัง​แผ่นสำเร็จ

ใส่ค่าระยะความกว้างความยาวของผนัง:
(แผ่นที่ใช้มีขนาดมาตรฐานในท้องตลาด) :

ความกว้าง​(ระยะ AB) =  เมตร :
ความสูง(ด้าน A)  = เมตร:
ความสูง(ด้าน B) = เมตร:
#หากเป็น​สี่เหลี่ยม​ผืนผ้า
ใส่ความสูงด้าน A =ความสูงด้าน B
#หน่วยเป็นเมตร
::::
หน้าต่าง/ประตูขนาด
กว้าง :ซม. :
ยาว :ซม. :

แผ่นฝาทับซ้อน (ตีเกล็ดปลา​) =  ซม.
ระยะแปโครงคร่าว=        ซม.:
จำนวนสกรูยึดต่อโครงคร่าว= ตัว/จุด:

::::::::

::::::::
พื้นที่ฝาผนัง ​:   ตารางเมตร
สำหรับไม้อัดไม่มีการทับซ้อน
ใช้แผ่นไม้อัด(1.2x2.4m.) :  แผ่น
ใช้แผ่น​ สมาร์ท​บอร์ด(1.2x2.4m.): แผ่น

::::::::
ใช้แปโครงคร่าวจำนวน: ท่อน
จุดที่จะยิงสกรูต่อแผ่น :  จุด
::::::::
ฝาไม้เทียม 15 ซม. ยาว 3 ม.  :
คิดตามระยะซ้อนทับ  แผ่น/ตารางเมตร
ใช้ฝาเรียงทับซ้อนกัน  : แผ่น(คิดแผ่นวางซ้อนที่เสา A)
ใช้ฝาไม้เทียมทั้งหมด : แผ่น
(หักช่องผนังแล้ว)และนำเศษที่ถูกตัดนำมาต่อกัน
คือใช้แผ่นทับซ้อนแถวละ : แผ่น(ไม่หักช่องผนัง) เศษ : ซ.ม.
ถ้าคิดตามแผ่นเต็มใช้ทั้งหมด : แผ่น
ใช้สกรู​จำนวน : ตัว

ฝาไม้เทียม 20 ซม. ยาว 3 ม. :
คิดตามระยะซ้อนทับ  แผ่น/ตารางเมตร
ใช้ฝาเรียงทับซ้อน : แผ่น(คิดแผ่นวางซ้อนที่เสา A)
ใช้ฝาไม้เทียมทั้งหมด : แผ่น
(หักช่องผนังแล้ว)และนำเศษที่ถูกตัดนำมาต่อกัน
คือใช้แผ่นทับซ้อนแถวละ : แผ่น(ไม่หักช่องผนัง) เศษ : ซ.ม.
ถ้าคิดตามแผ่นเต็มใช้ทั้งหมด : แผ่น
ใช้สกรูจำนวน : ตัว

::::::::
ฝาไม้เทียม 15 ซม. ยาว 4 ม.  :
คิดตามระยะซ้อนทับ  แผ่น/ตารางเมตร
ใช้ฝาเรียงทับซ้อนกัน  : แผ่น(คิดแผ่นวางซ้อนที่เสา A)
ใช้ฝาไม้เทียมทั้งหมด : แผ่น
(หักช่องผนังแล้ว)และนำเศษที่ถูกตัดนำมาต่อกัน
คือใช้แผ่นทับซ้อนแถวละ : แผ่น(ไม่หักช่องผนัง) เศษ : ซ.ม.
ถ้าคิดตามแผ่นเต็มใช้ทั้งหมด : แผ่น
ใช้สกรู​จำนวน : ตัว

ฝาไม้เทียม 20 ซม. ยาว 4 ม. :
คิดตามระยะซ้อนทับ  แผ่น/ตารางเมตร
ใช้ฝาเรียงทับซ้อน : แผ่น(คิดแผ่นวางซ้อนที่เสา A)
ใช้ฝาไม้เทียมทั้งหมด : แผ่น
(หักช่องผนังแล้ว)และนำเศษที่ถูกตัดนำมาต่อกัน
คือใช้แผ่นทับซ้อนแถวละ : แผ่น(ไม่หักช่องผนัง) เศษ : ซ.ม.
ถ้าคิดตามแผ่นเต็มใช้ทั้งหมด : แผ่น
ใช้สกรูจำนวน : ตัว

::::::::
ขออนุญาต​นำวิธีการติตั้งแผ่นที่ให้รายละเอียด​มาแสดงไว้
ในการคำนวณ​นี้ผู้ที่จะใช้งานควรมีประสบการณ์​การติดตั้งแผ่นมาก่อนจึงจะพอเข้าใจการคำนวณ​นี้
เพราะมิได้เป็น​การระบุว่าวัสดุที่หน้างานจะเป็นจำนวนที่แน่นอนเท่าไร
แต่เป็นการแนะนำหรือเสนอแนะให้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจเท่านั้น
เช่น จำนวนแผ่นต่อตารางเมตร คือแผ่นที่ถูกตัดออก จะต้องนำเศษมาต่อ หรือบริหารเศษให้พอจึงจะพอดี
แต่ถ้าเจ้าของงานเห็นว่าการนำเศษมาต่อกันไม่สวยงามหรือไม่ถูกใจ ก็ให้ใช้แผ่นเต็มจำนวน ก็เสนอให้ไว้ด้วย
เมื่อเป็นเช่นนี้ผู้เขียนจึงไม่สามารถสรุปให้ชัดได้ ได้เพียงเป็นทางเลือกตัดสินใจเท่านั้น

26 กันยายน 2562

อัตรา​ส่วนตรีโกณมิติ​


โปรแกรม​คำนวณ​หาอัตรา​ส่วน​ตรีโกณมิติ​


ใส่ค่าระยะทางที่กำหนด และมุมที่กำหนด 2 มุม :
(เช่นตามโจทย์คือระยะ 100,มุม 60° และ 30°) :

 ระยะที่เดินเข้าไป(x) ​ = เมตร :
 มุมระยะไกล(แทนที่ 30°) = องศา:
 มุมระยะใกล้(แทนที่ 60°) = องศา:
#หมายเหตุ.. ถ้ามุมไกลน้อยกว่ามุมใกล้ค่าจะติดลบ
ถ้ามุมเท่ากัน ผลจะเป็น infinity เป็นเป็นเส้นขนาน​

::::::::


::::::::
tan(o1)มุมที่อยู่ไกล

tan(o2)มุมที่อยู่ใกล้

จากสูตร tan(o1) = AB/CB
และสูตร tan(o2) = AB/DB
โดยที่ CB = DB+x (x คือระยะที่กำหนด)
เพราะฉะนั้น​
 AB = CB.tan(o1) = DB. tan(o2)
แทนค่า CB จะได้
AB = (DB+x). tan(o1) = DB.tan(o2)
 DB.tan(o1) + x.tan(o1) = DB.tan(o2)
DB.tan(o2) -​ DB.tan(o1) = x.tan(o1)
DB*(.tan(o2) -​ tan(o1))​ = x.tan(o1)
ฉะนั้น​ DB =  x.tan(o1) / (.tan(o2) -​ tan(o1))
แทนค่า
DB = เมตร
นำค่า DB ไปแทนค่า
AB = DB.tan(o2)
ความสูงของเสาธง หรือ ระยะ AB :
เมตร
::::::::
การคำนวณ​เช่นนี้นักคณิต​ศาสตร์โบราณ
ใช้เป็นหลักการวัดความสูงของภูเขาเอเวอร์เรส
โดยแทนค่ามุมที่เป็นองศาในปัจจุบันเป็นแบบเรเดียล
คือแทน ¶ ในสูตรนี้แล้วจึงหาค่าได้ใกล้เคียงกับที่ดาวเทียมวัดค่าในปัจจุบัน
มาดูการวัดด้วยเครื่องมือ​ที่มีมาไม่นานนี้

ดังรูปการแบ่งวงกลม
เพื่อเป็นแนวส่องไปที่ยอดเขาแล้วหาระยะที่เดินจากมุม 30° หรือ ¶/6 ไปถึง 60° หรือ ¶/3ได้ระยะมาแล้วก็ใช้แก้สมการได้เช่นกัน

21 กันยายน 2562

โปรแกรม​คำนวณ​หาขนาด​เครื่อง​ปั่นไฟ​จากแรงม้า​เครื่องยนต์​


โปรแกรม​คำนวณ​หาขนาด​เครื่อง​ปั่นไฟ​จากแรงม้า​เครื่องยนต์​​


ใส่ค่ากำลังแรงม้าเครื่องยนต์ที่จะขับ​​เครื่อง​ปั่นไฟ​ :
(ขอใช้ตามภาษาชาวบ้านว่า"โล"หรือ กิโล) :
 ขนาดแรงม้าเครื่องยนต์​ = แรง(Hp) :
 แรงดันไฟ = V:
 จำนวนเฟส = Ph:

::::::::


::::::::
เครื่องปั่นไฟ​ที่จะใช้ได้ต้องไม่เกิน :
กิโล(Kilowatt )
::::::::
เครื่องปั่นไฟ​นี้มีขนาด :
แรงม้า(Hp)
กระแสไฟจ่าย(I1) : A

ควรเลือกขนาดCB(AT) ที่มีขนาดประมาณ​ :
A

(ถ้าเฟสที่เลือกไม่ใช่ 1 หรือ 3 เฟส การคำนวณ​จะไม่ออกค่า)
ขั้วสาย CB : เส้น

การเลือก CB ไม่ได้กำหนดค่าตายตัวเพราะแต่ละยี่ห้อผลิตมาไม่เหมือนกันแต่ใกล้เคียงกันจึงแนะนำให้พิจารณาเทียบกันในท้องตลาดที่เหมาะสม
___
คำนวณ​หาค่าแรงม้า​เครื่อง​ยนต์ขับเครื่องปั่นไฟ
(กรณีมีเครื่องปั่นไฟแล้วต้องการหาขนาดเครื่องยนต์มาขับ)
คำนวนหาค่าความต้านทานแบบขนาน
คำนวณหาค่า Capacitor

20 กันยายน 2562

โปรแกรม​คำนวณ​แรงม้าเครื่องยนต์​ขับเครื่อง​ปั่นไฟ​


โปรแกรม​คำนวณ​แรงม้าเครื่องยนต์​ขับเครื่อง​ปั่นไฟ​


ใส่ค่ากำลัง​เครื่อง​ปั่นไฟ​ :
(ขอใช้ตามภาษาชาวบ้านว่า"โล"หรือ กิโล) :
 ขนาดเครื่องปั่นไฟ​ = กิโล(kiloWatt) :
 แรงดันไฟ = V:
 จำนวนเฟส = Ph:

::::::::


::::::::
เครื่องยนต์​ที่จะขับได้ต้องมากกว่า :
แรงม้า(Hp)
::::::::
เครื่องปั่นไฟ​นี้มีขนาด :
แรงม้า(Hp)
กระแสไฟจ่าย(I1) : A

ควรเลือกขนาดCB(AT) ที่มีขนาดประมาณ​ :
A

(ถ้าเฟสที่เลือกไม่ใช่ 1 หรือ 3 เฟส การคำนวณ​จะไม่ออกค่า)
ขั้วสาย CB : เส้น

การเลือก CB ไม่ได้กำหนดค่าตายตัวเพราะแต่ละยี่ห้อผลิตมาไม่เหมือนกันแต่ใกล้เคียงกันจึงแนะนำให้พิจารณาเทียบกันในท้องตลาดที่เหมาะสม
___
คำนวณ​หาเครื่อง​ปั่นไฟ​จากแรงม้า​เครื่อง​ยนต์​ขับ​
(กรณีมีเครื่องยนต์อยู่แล้วต้องการหาขนาดเครื่องปั่นไฟมาใช้)
คำนวนหาค่าความต้านทานแบบขนาน
คำนวณหาค่า Capacitor

19 กันยายน 2562

โปรแกรม​คำนวณ​ Wheatstone Bridge


โปรแกรมคำนวนค่า Wheatstone​ Bridge


ใส่ค่าความต้านทาน :
และค่าแรงดันไฟฟ้าจ่ายไฟ :
 Vs = V :
 R1 = Ohm:
 R2 = Ohm:
 R3 = Ohm:
 R4 = Ohm:

::::::::


::::::::
ค่าความต้านทานรวม : โอห์ม;
กระแสรวม (It) : A
(I1) : A
(I2) : A
(Vc) : V
(Vd) : V
Vout (Vcd) : V
___
คำนวนหาค่าความต้านทานแบบขนาน
คำนวณหาค่า Capacitor

01 กันยายน 2562

โปรแกรม​คำนวณ​ Capacitor series & parallel

โปรแกรมคำนวนค่าตัวเก็บ​ประจุ​ไฟฟ้า​แบบอนุกรม​และแบบขนาน

(ขอจำกัด ตัวเก็บ​ประจุ​ไม่เกิน 10 ค่า)
ใส่ค่าตัว​เก็บ​ประจุ :
ค่าตัว​เก็บ​ประจุคิดเป็นหน่วยเดียวกันในโปรแกรม​นี้
เลือกหน่วยตัวเก็บ​ประจุ​
....


 C1   =
 C2   =
 C3   =
 C4   =
 C5   =
 C6   =
 C7   =
 C8   =
 C9   =
 C10 =



  ค่าC แบบอนุกรม
ค่าตัวเก็บ​ประจุ​รวม :
  ค่าC แบบขนาน
ค่าตัวเก็บ​ประจุ​รวม :

จำนวนตัวเก็บ​ประจุ​ : ตัว
::::::::



ค่าC แบบอนุกรม
ค่าตัวเก็บ​ประจุ​รวม :
:::::::


ค่าC แบบขนาน