17 กรกฎาคม 2555

13 กรกฎาคม 2555

เพลงถอนสมอ

เรือหลวงจักรีนฤเบศร

กำลังรบแห่งราชนาวี

การรบที่เกาะช้าง

ร.ศ.๑๑๒ ประวัติศาสตร์ป้อมพระจุลฯ

ทหารเรือไทย .flv

ชมประดู่ / Beyond the sea

ชมประดู่

"เนวีบลู" - ภัทริส ณ นคร

เดินหน้า

เพลงราชนาวี (Royal Thai Navy)

วอลซ์นาวี

ถอนสมอ

เพลงดอกประดู่ (Royal Thai Navy)

ตื่นเถิดไทย

16 มกราคม 2555

อันตรายจากไฟฟ้า



เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร มีคนปีนขึ้นไปอยู่บนเสาไฟแรงสูง
เมื่อ จนท.ได้รับเรื่องก็จึงไปยังที่เกิดเหตุ จนท.การไฟฟ้าปีนขึ้นไปช่วยเหลือ
แต่ว่าไม่ดับไฟแรงสูง 12,000 โวล์ท โดยคิดว่าคงไม่เกิดเหตุพลาดพลั้ง
และสายแรงสูงก็เป็นแบบหุ้มฉนวน ไม่เป็นสายเปลือย
แต่ความผิดพลาดครั้งนี้ก็ทำให้ จนท.การไฟฟ้า ได้รับอันตรายตามภาพ
ได้รับบาดเจ็บ น่าจะพิการ แต่ไม่ถึงกับเสียชีวิต
เหตุการณ์นี้เป็นภาพเตือนใจแก่ ช่างไฟฟ้าที่กำลังปฏิบัติหน้าที่ทุกคนว่า
เราไม่ได้รบกับศัตรูที่มองเห็นตัว รู้แต่ที่อยู่และทางเดินของมันเท่านั้น
แรงดันไฟฟ้าที่ปลอดภัยสำหรับสิ่งมีชีวิต เพียงแค่ 24 โวล์ท เท่านั้น (กระแสต่ำ)
แรงดันหรือความต่างศักย์เปรียบได้กับ ความสูงของเขื่อน ถ้าเป็นเพียงฝายทดน้ำกันลำธาร
ก็ไม่ทำให้บ้านเสียหายได้มาก แต่ถ้ามีความสูงดั่งเขื่อนภูมิพล
กำลังน้ำย่อมมีพลังมากกว่าฉันท์ใด แรงดันไฟฟ้าที่สูง
ไม่ว่าจะเป็นเพียงที่ใช้ในบ้านเพียง 220 โวล์ท ก็สามารถทำให้คนเสียชีวิตได้ภายในไม่เกิน 5 นาที
แต่ สำหรับแรงสูงตามในภาพนั้นไว้ใช้สำหรับส่งจ่ายให้ไปได้ไกลมากยิ่งขึ้น
โดยกำลังการใช้ไฟนั้นมีสูตรเท่ากับ กระแส X แรงดัน ถ้าเราใช้ไฟ 220 โวล์ท จ่ายไปทั่วเมือง
จะต้องใช้สายขนาดใหญ่มาก ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย เราจึงเพิ่มแรงดันเพื่อให้กระแสลดลง
เมื่อกระแสลดลง สายไฟก็มีขนาดเล็กลงไปด้วยทำให้เราประหยัดค่าใช้จ่าย
แต่ความอันตรายก็เพิ่มสูงขึ้นไปอีกเหมือนในภาพ
ฝากถึงเพื่อนๆที่ต้องควบคุมดูแลเรื่องนี้ให้ระมัดระวังทุกขั้นตอนนะ

13 มกราคม 2555

อันตรายจากหม้อแปลงไฟฟ้า



วิศวกรนั้นสำคัญไฉน?

สิ่งสำคัญของความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้านั้น คือ"วิศวกรไฟฟ้า"
เพราะเป็นผู้ที่ต้องรู้จักพฤติกรรมของระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และสภาพแวดล้อมของการใช้ไฟฟ้าเป็นพื้นฐาน
ก่อนจะนำเอาองค์ความรู้นั้นมาวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ และคำนวณตามหลักของคณิตศาสตร์
เมื่อได้ค่าแห่งความปลอดภัยแล้ว จึงสั่งให้ช่างไฟฟ้าไปดำเนินการตามที่ได้ออกแบบไว้
และควบคุมดูแลการก่อสร้าง ติดตั้งอุปกรณ์ให้เป็นไปตามที่ได้อนุมัติ
ความรับผิดชอบนี้เป็นไปตามกฎหมายบังคับ เมื่อเกิดความเสียหายขึ้นในระหว่างการใช้งาน
วิศวกรผู้ที่ได้ทำการคำนวนออกแบบ และควบคุมที่ประมาท ก็จะต้องถูกดำเนินการตามกฎหมาย...
จากตัวอย่างความเสียหายของหม้อแปลงนี้ อาจเป็นอุทาหรณ์ว่า
ช่างไฟฟ้าทั้งหลายที่เคยทำตามความเคยชิน คิดว่าตนเองชำนาญ
แต่หลักวิชาการของการคำนวนนั้น มีมากกว่าที่ท่านคิด ขอจงอย่าประมาทเลย!!!!

พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หนีออกนอกกรุงศรีอยุทธยา

อันตรายจากไฟฟ้า

เตือนใจสำหรัับช่างไฟฟ้า
ไฟฟ้า คือ พลังงานที่มองไม่เห็นเป็นตัวตน
หากต้องใช้จินตนาการตามหลักวิชาการ จึงสามารถควบคุมใัห้ปลอดภัยได้
อำนาจอันทรงพลังในไฟฟ้า ทำให้ชีวิตประจำวันเป็นไปได้อย่างราบรื่น
แต่อำนาจมืดของมัน ก็สามารถจบชีวิตของเรา และช่างไฟฟ้า ได้เช่นกัน..